บทความวิจัย



ความรู้ การรับรู้ความสามารถ และการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันโรควัณโรคของตัวแทนครัวเรือน บ้านหนองม่วงน้อย หมู่ที่ 6 ตำบลเมืองโดน อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา  Knowledge, efficacy And self-care practices to prevent tuberculosis of household representatives Ban Nong Muang Noi, Village No.6 Muang Don Sub-district, Prathai District, Nakhon Ratchasima Province

1.นายณัชพล ลอบไธสง 2.นางสาวสร้อยสุวรรณ เทพประจักษ์
    -. ประทาย. นครราชสีมา. (2563)

บทคัดย่อ/Abstract


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ การรับรู้ความสามารถ และการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรควัณโรคของกลุ่มตัวแทนครัวเรือนหมู่บ้านหนองม่วงน้อย หมู่ที่ 6 ตำบล

เมืองโดน อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาทั้งสิ้นจำนวน 100 คน เก็บรวบรวมข้อมูล และนำมาวิเคราะห์ทางสถิติหาค่าจำนวนร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและหาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติ Chi – square

การศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 59.00 มีอายุระหว่าง

41 – 45 ร้อยละ 14.00 สถานภาพอยู่ด้วยกัน ร้อยละ 77.00 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 85.00 ประกอบอาชีพเกษตรกร ร้อยละ 59.00 มีรายได้ต่อเดือนต่ำกว่า 5,000 บาท ร้อยละ 50.00 ลักษณะที่พักอาศัยเป็นบ้านเดี่ยว ร้อยละ 100.00 และอาศัยอยู่กับพ่อ/แม่ ร้อยละ 50.00 ส่วนใหญ่มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือน 3 - 5 คน ร้อยละ 67.00 ซึ่งบุคคลในครอบครัวส่วนใหญ่ไม่มีโรคประจำตัว ร้อยละ 78.00 บุคคลในครอบครัวมีผู้ป่วยเป็นโรควัณโรค ร้อยละ 4.00 และไม่มีบุคคลในครอบครัวป่วยเป็นโรควัณโรค ร้อยละ 96.00 ความรู้เกี่ยวกับเรื่องโรควัณโรค พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความรู้อยู่ในระดับระดับต่ำ คิดเป็นร้อยละ 59.00 การรับรู้ความสามารถเกี่ยวกับเรื่องโรควัณโรค พบว่า ระดับคะแนนการรับรู้ความสามารถเกี่ยวกับโรควัณโรค ส่วนใหญ่มีการรับรู้ความสามารถเกี่ยวกับโรควัณโรคอยู่ในระดับสูง (x ̅ = 60.23 S.D. = 0.404) การปฏิบัติตัวเกี่ยวกับโรควัณโรค พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับโรควัณโรคอยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ (x ̅ = 46.15 S.D. = 0.405)

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และการปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรควัณโรคของตัวแทนครัวเรือน บ้านหนองม่วงน้อย หมู่ที่ 6 ความรู้และการรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันวัณโรค และการรับรู้ความสามารถเกี่ยวกับโรควัณโรค และปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรควัณโรค ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้ง 3 ด้าน


คำสำคัญ : ความรู้ การรับรู้ความสามารถ การปฏิบัติตัวในการดูแลตนเอง โรควัณโรค

The purpose of this research was to study knowledge. Efficacy and self-care practices to prevent tuberculosis among Nong Muang Noi village representatives Village No.6, Tambon Muang Don, Prathai District, and Nakhon Ratchasima Province by using questionnaires as a tool for data collection a total of 100 samples were used in the study. And analyzed to find the number, percentage, mean, standard deviation and find the relationship by using Chi - square statistics.

The study found that the majority of the respondents were female, 59.00%, aged between 41-45 45% 14.00 Live together 77.00% Most of them have primary education, 85.00% are farmers, 59.00% have a monthly income of less than 5,000 baht 50.00% 50.00 Residential characteristics are single houses 100.00% and live with parents 50.00%, most of them have 3 - 5 members in the family 67.00%, most of the family members do not have any underlying diseases 78.00% Family members have 4.00% of TB patients and without 96.00% of the families had tuberculosis. Knowledge about tuberculosis revealed that most respondents had a low level of knowledge. Percentage of perception, perception of TB-related disease, it was found that scores of perceptions about tuberculosis Most of the respondents had a high level of competence in tuberculosis (x ̅ = 60.23 S.D. = 0.404). The practice of tuberculosis showed that most respondents had a high level of tuberculosis. As a percentage (x ̅ = 46.15 S.D. = 0.405)

A study of the relationship between knowledge and self-care practices for tuberculosis prevention of household representatives Ban Nong Muang Noi, Village No. 6, Knowledge and perceptions of self-care for tuberculosis prevention And the efficacy of tuberculosis And act in self-care to prevent TB There is no statistically significant relationship at the level of 0.05 in all 3 areas.


keywords : knowledge, efficacy, Practice in self-care, tuberculosis

อ้างอิง


กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2556). โรควัณโรค. (ออนไลน์). เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562.

http://thaigcd.ddc.moph.go.th/2016/knowledges/view/23

ขวัญใจ มอนไธสง. (2559). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันวัณโรคของผู้สัมผัสร่วมบ้านกับผู้ป่วย

วัณโรคปอดที่พักอาศัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (ออนไลน์). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562. http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2016/TU_2016_561

14031028_6668_5624.pdf

เคริท เลวิน. (1951). การนำหลักการทฤษฎีกลุ่มความรู้ ความเข้าใจ ไปประยุกต์ใช้สืบค้นข้อมูล. (ออนไลน์).

เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562. https://thongkred.wordpress.com

ชวาล แพรัตกุล. (2552). การวัดผลการศึกษา. (ออนไลน์). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2561.

http://cataloglib.psru.ac.th/ULIB6/dublin.php?&f=dublin&ID=7283#.XH6IAiIzbIU

ชม ภูมิภาค. (2553). แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู้. (ออนไลน์). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม

2561. http://socialscienceigetweb.com/index.php?mo=3&art=59345.

นงนุช เสือพูมี. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความรู้กับพฤติกรรมการป้องกันวัณโรค

ปอดของประชาชน ตำบลสวนกล้วย อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี. (ออนไลน์). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562. file:///C:/Users/Administrator.ZRDCAQB5WQJ VU0V2/D

Downloads/11899-Article%20Text-25115-1-10-20130924%20(8).pdf.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ อ้างอิงในโดย วีระพลและคณะ, (2538). ปัจจัยที่ทำให้เกิดทัศนคติ. (ออนไลน์).

สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2561. www.dnp.go.th/fca16/file/kd3v1xur10qj9tm. doc

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2553). เทคนิคการสร้างเครื่องมือและรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย.

พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : ศรีอนันต์การพิมพ์

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2550). การสร้างและพัฒนาแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์, พิมพ์ครั้งที่ 8, กรุงเทพฯ :

[ม.ป.พ.], 2530.

พัชราภรณ์ ธรรมรัตนพงษ์. (2558). ได้ศึกษาความรู้และการปฏิบัติในการป้องกันวัณโรคของอาสาสมัค

สาธารณสุขในเรือนจำจังหวัดลำพูน. (ออนไลน์). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 15 มการคม 2562. ht tp://www.thaithesis.org/detail.php?id=42814.

โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์. (2559). โรควัณโรค (Tuberculosis) รู้เร็วรักษาหายไม่แพร่กระจาย. (ออนไลน์).

สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2562. https://www.saintlouisor.th/article/show/ Tuber culosisTB_23-2-2017-8:32.

โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน. (2555). ไอเป็นเลือดช่วยด้วย. (ออนไลน์). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 13

มกราคม 2562. http://www.tm.mahidol.ac.th/th/tropical-medicine- knowledge/new/ Mycobacterium.html.

วรวุฒิ เจริญศิริ. (2560). วัณโรค. สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562. (ออนไลน์). http://www

bangkokhealth.com/index.php/health/health-system/respiratory/1762-.

วิจารณ์ พานิช. (2556). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.

สมัญญา มุขอาษา. (2558). การศึกษาผลของโปรแกรมสร้างเสริมสุขภาพโดยการประยุกต์ทฤษฎีการ

สร้างพลังอำนาจในผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวกรายใหม่. (ออนไลน์). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2562. http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/ thesis/2015/TU_ 2015_5 2170300882995_2800.pdf

สุธาดา จารุสาร. (2561). พฤติกรรมการป้องกันติดเชื้อวัณโรค กรณีศึกษาญาติหรือผู้ ดูแลผู้ป่วยวัณ

โรคในผู้ติดเชื้อเอดส์. (ออนไลน์). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2562. https://madlab.https://madlab.cpe.ku.ac.th/TR2/?itemID=473243

สำนักวัณโรค. (2559). แนวทางการป้อนกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค ปี พ.ศ. 2559.

(ออนไลน์). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2561. https://www.tbthailand.org/

documents.html

สำนักวัณโรค กลุ่มยุทธศาสตร์และการประเมินผล (2560). สถานการณ์วัณโรคของประเทศไทย 2560

(ออนไลน์).สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2561. https://www. tbthailand.org/ download201.pdf

สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค. (2560). สถานการณ์วัณโรคของจังหวัดนครราชสีมา 2560. (ออนไลน์).

สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2561 https://www.tbthailand.org/

สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค. (2561). แนวทางการควบคุมวัณโรคประเทศไทย 2561. (ออนไลน์).

สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2561. https://www.tbthailand.org/download/Ma

nual/NTP2018.pdf

สำนักกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ; สสส. (2561). วัณโรค โรคติดต่อที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อ

เนื่อง (ออนไลน์). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2562. https://www.thaihealth.or.

th/

สำนักกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2561). การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นโรควัณโรค. (ออนไลน์).



ดาวน์โหลด